› 日本が好き › 印刷で使う形以外の書き方もできることを紹介する
2015年11月05日
印刷で使う形以外の書き方もできることを紹介する
คนที่เรียนภาษาญี่ปุ่น ใครมีความรู้สึกอย่างเดียวกับฉันบ้างว่า ตัวอักษร "คันจิ" มันยาก แล้วก็ทำให้รู้สึกปวดใจมาก
แล้วคันจิที่เราต้องใช้กันบ่อยๆ นั้น ก็มีไม่ใช่น้อยเลยนะคะ อย่างที่เขาเรียกกันว่า "โจโยคันจิ"
โจโยกันจิ (ญี่ปุ่น: 常用漢字 Jōyō kanji ?) เป็นตัวอักษรคันจิ 2,136 ตัว (เดิม 1,945) ที่กระทรวงศึกษาของประเทศญี่ปุ่น กำหนดว่าเป็นตัวอักษรคันจิที่ใช้ในชีวิตประจำวันเป็นประจำ ประกอบด้วย
•คันจิที่เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาหรือเคียวอิกุกันจิ 1,006 ตัว
•คันจิที่เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา 1,130 ตัว
อะไรมันจะเยอะอย่างนี้นะ
ตัวคันจินั้นมีทั้งตัวคันจิแบบพิมพ์และตัวคันจิแบบเขียน แม้ว่ารายละเอียดของตัวอักษรจะต่างกัน แต่รูปลักษณ์ส่วนใหญ่จะเหมือนกัน ตัวอย่างเช่น คันจิคำว่า 「令(れい)」นั้นจะเขียนเป็นเส้นแนวตั้งตรงไว้ตรงกลางตัวอักษรที่ใช้การพิมพ์ แต่ในตอนเขียนจะเขียนคล้ายกับตัวอักษร Katakana ตัว 「マ」ไว้แทน ทั้ง 2 ตัวนั้นถูกทั้งคู่ไม่มีตัวไหนผิดเลย แต่ว่าตัวคันจิที่เขียนด้วยมือนั้นทางราชการและทางธนาคารจะไม่ใช้เพราะว่ารูปลักษณ์ที่ต่างกับตัวคันจิที่พิมพ์นั้นอาจสร้างปัญหาขึ้นได้
ดังนั้น ทางด้านสภาวัฒนธรรมจึงได้จัดทำการแนะนำตัวคันจิที่มีรูปลักษณ์ต่างๆ ที่เขียนด้วยมือเอาไว้ ในยุคปัจจุบันนี้จะมีตัวอักษณที่พิมพ์จะอยู่มากมาย จึงต้องให้ความสำคัญกับวัฒนธรรมในการเขียนอักษรด้วยมือ และคิดว่าอยากจะให้กระตือรืนต้นในการเขียนตัวอักษรให้มากยิ่งขึ้น ดังนั้น กระทรวงวัฒนธรรมจึงได้วางแผนที่จะผลิตหนังสือเพื่อจะแนะนำวิธีการเขียนคันจิที่นอกเหนือจากรูปลักษณ์ที่ใช้ในการพิมพ์ภายในเดือนมีนาคม ปี 2017 ด้วย
อย่างไรก็ลองคอยติดตามกันต่อไปนะคะ ระหว่างนี้ก็ลองฝึกๆ เขียนกันไปพลางๆ ก่อนนะคะ
แล้วคันจิที่เราต้องใช้กันบ่อยๆ นั้น ก็มีไม่ใช่น้อยเลยนะคะ อย่างที่เขาเรียกกันว่า "โจโยคันจิ"
โจโยกันจิ (ญี่ปุ่น: 常用漢字 Jōyō kanji ?) เป็นตัวอักษรคันจิ 2,136 ตัว (เดิม 1,945) ที่กระทรวงศึกษาของประเทศญี่ปุ่น กำหนดว่าเป็นตัวอักษรคันจิที่ใช้ในชีวิตประจำวันเป็นประจำ ประกอบด้วย
•คันจิที่เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาหรือเคียวอิกุกันจิ 1,006 ตัว
•คันจิที่เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา 1,130 ตัว
อะไรมันจะเยอะอย่างนี้นะ
ตัวคันจินั้นมีทั้งตัวคันจิแบบพิมพ์และตัวคันจิแบบเขียน แม้ว่ารายละเอียดของตัวอักษรจะต่างกัน แต่รูปลักษณ์ส่วนใหญ่จะเหมือนกัน ตัวอย่างเช่น คันจิคำว่า 「令(れい)」นั้นจะเขียนเป็นเส้นแนวตั้งตรงไว้ตรงกลางตัวอักษรที่ใช้การพิมพ์ แต่ในตอนเขียนจะเขียนคล้ายกับตัวอักษร Katakana ตัว 「マ」ไว้แทน ทั้ง 2 ตัวนั้นถูกทั้งคู่ไม่มีตัวไหนผิดเลย แต่ว่าตัวคันจิที่เขียนด้วยมือนั้นทางราชการและทางธนาคารจะไม่ใช้เพราะว่ารูปลักษณ์ที่ต่างกับตัวคันจิที่พิมพ์นั้นอาจสร้างปัญหาขึ้นได้
ดังนั้น ทางด้านสภาวัฒนธรรมจึงได้จัดทำการแนะนำตัวคันจิที่มีรูปลักษณ์ต่างๆ ที่เขียนด้วยมือเอาไว้ ในยุคปัจจุบันนี้จะมีตัวอักษณที่พิมพ์จะอยู่มากมาย จึงต้องให้ความสำคัญกับวัฒนธรรมในการเขียนอักษรด้วยมือ และคิดว่าอยากจะให้กระตือรืนต้นในการเขียนตัวอักษรให้มากยิ่งขึ้น ดังนั้น กระทรวงวัฒนธรรมจึงได้วางแผนที่จะผลิตหนังสือเพื่อจะแนะนำวิธีการเขียนคันจิที่นอกเหนือจากรูปลักษณ์ที่ใช้ในการพิมพ์ภายในเดือนมีนาคม ปี 2017 ด้วย
อย่างไรก็ลองคอยติดตามกันต่อไปนะคะ ระหว่างนี้ก็ลองฝึกๆ เขียนกันไปพลางๆ ก่อนนะคะ
Posted by mod at 20:18│Comments(0)
Information
S | M | T | W | T | F | S |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | ||||||
2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 |
16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 |
23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 |
カテゴリ
最近の記事
ช่วงไดเอท กินอะไรดี (3/23)
ヨン様はもう卒業したの! (2/16)
เทียบความอึ๋มขณะแช่ออนเซน (1/26)
หมึก....บิน (1/25)
学童保育 กิจกรรมหลังเลิกเรียน (1/18)
過去記事
最近のコメント
Slotpark-Doops / 押し競饅頭 Oshikura Manju
Eugenepar / ตุ๊กตากระดาษ Paper Dolls
Jamescar / ตุ๊กตากระดาษ Paper Dolls
Jimmiethalt / ตุ๊กตากระดาษ Paper Dolls
JacquesexAmy / ตุ๊กตากระดาษ Paper Dolls
お気に入り
ブログ内検索
QRコード
アクセスカウンタ
読者登録
プロフィール
mod